วันศุกร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2555

พิพิธภัณฑ์เมืองมหาสารคาม



พิพิธภัณฑ์เมือง  



ศูนย์รวมเผยแพร่และจำหน่ายผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน  จังหวัดมหาสารคาม  เริ่มดำเนินการ เมื่อปี พ.ศ. 2543 ในสมัยที่นางสิริเลิศ  เมฆไพบูลย์  ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม และนายสุรจิตร ยนต์ตระกูล เป็นนายกเทศมนตรีเมืองมหาสารคาม  ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนกระจายการผลิตและการจ้างงานไปสู่ภูมิภาค 8,434,000บาท (อาคารและสิ่งก่อสร้าง) และเทศบาลเมืองมหาสารคามได้จัดสรรงบประมาณประจำปีงบประมาณ สิ่งก่อสร้างและเทศบาลเมืองมหาสารคามได้จัดสรรงบประมาณประจำปีงบประมาณ 2546เพื่อการออกแบบและจัดแสดงนิทรรศการภายในจำนวน ภายในจำนวน 2,000,000 บาท ภายในสวนสาธารณะหนองข่ามีเนื้อที่ประมาณ 40 ไร่ อันมีแมกไม้บวกกับสระน้ำหนองข่าที่ร่มรื่นย์  ด้านหน้ายังมีอนุสาวรีย์ท้าวมหาชัยวีระบุรุษอันดับหนึ่งของชาวมหาสารคาม  พิพิธภัณฑ์เมืองมหาสารคามได้ทำพิธีเปิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ด้านหน้ายังมีอนุสาวรีย์ท้าวมหาชัยวีระบุรุษอันดับหนึ่งของชาวมหาสารคาม พิพิธภัณฑ์เมืองมหาสารคามได้ทำพิธีเปิดเมื่อวันอาทิตย์
ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2547
      การจัดแสดงภายในพิพิธภัณฑ์เมืองมหาสารคามเน้นการเล่าเรื่องวิถีชีวิตของผู้คนในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคามโดยมีแก่นของเรื่อง(Theme)  ซึ่งเป็นตัวตนหรืออัตลักษณ์แห่งวิถีชีวิตชาวเทศบาลเมืองมหาสารคาม คือ "เมืองซ้อนชนบท"  สามารถแบ่งมิติทางประวัติสาสตร์ในการนำเสนอเป็น ยุค ดังนี้
        -  ยุคก่อนตั้งเมืองมหาสารคาม
        -  ยุคเจ้าเมืองท้องถิ่น
        -  ยุคปกครองโดยข้านราชการ
        -  ยุคขยายตัวทางการศึกษา
        -  ยุคเศรษฐกิจฟองสบู่
      นอกจากการจัดแสดงนิทรรศการในพิพิธภัณฑ์แล้ว เทศบาลเมืองมหาสารคามยังได้วางแผนการจัดกิจกรรม  เพื่อให้พิพิธภัณฑ์เมือง
มหาสารคามเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีชีวิตเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ตัวอย่างเช่น
        -  การจัดกิจกรรมร่วมกับสถานศึกษาเพื่อให้พิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับการศึกษาท้องถิ่น
         -  การจัดนิทรรศการหมุนเวียนและกิจกรรมตามฤดูกาล  
  -  การพัฒนารูปแบบการจัดแสดงในนิทรรศการทั้งในด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีสมัยใหม่  นิทรรศการที่โต้ตอบกับผู้ชม
   -  การจัดทำคลังพิพิธภัณฑ์และศูนย์เอกสารทางประวัติศาสตร์ที่รวบรวมข้อมูลและวัตถุที่สามารถสืบค้นเรื่องราวของชาวมหาสารคาม
  -  การมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อพัฒนาการดำเนินงานของพิพิธภัณฑ์ เช่น อาสาสมัครนำชม  การสาธิต  การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
        -  ศูนย์จำหน่ายสินค้าที่เป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชน
        -  ยุคก่อนตั้งเมืองมหาสารคาม
        -  ยุคเจ้าเมืองท้องถิ่น
        -  ยุคปกครองโดยข้านราชการ
        -  ยุคขยายตัวทางการศึกษา
        -  ยุคเศรษฐกิจฟองสบู่
     
       นอกจากการจัดแสดงนิทรรศการในพิพิธภัณฑ์แล้ว เทศบาลเมืองมหาสารคามยังได้วางแผนการจัดกิจกรรม  เพื่อให้พิพิธภัณฑ์เมือง
มหาสารคามเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีชีวิตเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ตัวอย่างเช่น
   -  การจัดกิจกรรมร่วมกับสถานศึกษาเพื่อให้พิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับการศึกษาท้องถิ่น
        -  การจัดนิทรรศการหมุนเวียนและกิจกรรมตามฤดูกาล  
  -การพัฒนารูปแบบการจัดแสดงในนิทรรศการทั้งในด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีสมัยใหม่  นิทรรศการที่โต้ตอบกับผู้ชม
    -  การจัดทำคลังพิพิธภัณฑ์และศูนย์เอกสารทางประวัติศาสตร์ที่รวบรวมข้อมูลและวัตถุที่สามารถสืบค้นเรื่องราวของชาวมหาสารคาม
       -  การมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อพัฒนาการดำเนินงานของพิพิธภัณฑ์ เช่น อาสาสมัครนำชม  การสาธิต  การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
        -  ศูนย์จำหน่ายสินค้าที่เป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น